Muthita

ผู้เขียน : Muthita

อัพเดท: 15 พ.ค. 2021 23.52 น. บทความนี้มีผู้ชม: 591 ครั้ง

คนที่ทำงานประจำมักจะมีรายได้ที่ค่อนข้างแน่นอนที่อยู่ในรูป ?เงินเดือน? จะมีความได้เปรียบในการวางแผนทางการเงินมากกว่าคนที่ทำงานอิสระ หรือนักธุรกิจ การลงทุนผ่าน กองทุน นั้น เป็นช่องทางที่ทางรัฐบาลสนับสนุน จึงให้สิทธิพิเศษสำหรับผู้ที่ลงทุนผ่านทางช่องทางนี้ เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนในประเทศมีเงินออมไว้ใช้ในยามเกษียณ ซึ่งแตกต่างจากการลงทุนด้วยตัวเองในการซื้อหุ้นทุน แม้อาจจะไม่หวือหวาได้ลุ้นกำไรระยะสั้น แต่ก็เสี่ยงต่ำกว่าการลงทุนในหุ้นทุนมาก เป็นการสร้างความมั่นคงทางการเงินในระยะยาวได้ หากเลือกลงทุนตามหลักวิธี

ลดหย่อนภาษี

การลงทุนใน RMF และ SSF นั้นได้รับการลดหย่อนภาษีสูงสุดถึงร้อยละ 30 และยังสามารถลดหย่อนได้สูงสุดถึง 500,000 บาท รัฐบาลจะช่วยสนับสนุนโดยการให้การลดหย่อนภาษีในส่วนนี้ ทำให้คนทำงานประจำอย่างเราเสียภาษีถูกลง และได้ผลประโยชน์ทางภาษีนั้นกลับมาในทันที

การลงทุนผ่านช่องทางนี้นั้นทำได้ง่าย เนื่องจากมีขั้นต่ำที่ค่อนข้างน้อย บางแห่งเริ่มต้นเพียง 1,000 บาท ทำให้สามารถบริหารจัดการโดยการนำเงินเดือนแต่ละเดือนมาลงทุน หรือที่เรียกว่า Dollar cost averaging (DCA) ซึ่งทำง่าย ๆ ได้โดย โอนเงิน จากบัญชี ออมทรัพย์ ของธนาคารโดยตรง ซึ่งเป็นวิธีการที่สะดวกและเป็นการกระจายความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาสินทรัพย์ โดยเฉพาะการลงทุนในต่างประเทศที่มีความเสี่ยงของ อัตราแลกเปลี่ยน

เงินออมวัยเกษียณ

เมื่อเข้าสู่วัยเกษียณโดยที่มีการลงทุนอย่างสม่ำเสมอ ผู้ลงทุนจะมีเงินก้อน ๆ หนึ่ง เพราะได้สะสมการออมมาเป็นระยะเวลาหลายปี สมมติว่า นาย A อายุ 30 ปี ซึ่งทำงานประจำ ได้ลงทุนเพื่อลดหย่อนภาษีปีละ 100,000 บาท ไปจนถึงอายุ 55 ปี ทำให้เมื่อนาย A เกษียณจะมีเงินที่ลงทุนสะสมไว้สูงถึง 25 x 100,000 = 2,500,000 บาท ซึ่งเพียงพอต่อการใช้ชีวิตในยามเกษียณ

เพิ่มผลตอบแทนในอนาคต

ผู้บริหารมืออาชีพมีแนวโน้มจะทำให้เงินมีมูลค่าเพิ่มขึ้น โดยการจัดสรรเงินลงทุนในสินทรัพย์ต่าง ๆ เช่น พันธบัตร หุ้นกู้ หุ้น หรือ ลงทุนในต่างประเทศ เป็นต้น การลงทุนที่มีความเสี่ยงสูง เช่น การลงทุนในหุ้นต่างประเทศ จะทำให้มีโอกาสได้รับผลตอบแทนที่สูงขึ้น ขณะเดียวกันก็มีความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นจาก currency exchange ในทางกลับกัน การลงทุนที่มีความเสี่ยงต่ำ เช่น การลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล หรือเงินฝาก ออมทรัพย์ จะให้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างต่ำ ขณะเดียวกันก็มีความเสี่ยงที่ต่ำเช่นกัน แต่โดยรวม ๆ แล้วการลงทุนในสินทรัพย์ที่มืออาชีพคัดสรรนั้นมีแนวโน้มทำให้ได้ผลตอบแทนเพิ่มขึ้น

สรุป การลงทุนผ่าน กองทุน จะให้ประโยชน์ 3 ต่อ คือ ต่อแรก ใช้ลดหย่อนภาษี ต่อที่สอง เป็นเงินออมไว้ใช้ในยามเกษียณ ต่อสุดท้าย เพิ่มผลตอบแทนในอนาคต ซึ่งมนุษย์เงินเดือนอย่างเราสามารถเริ่มต้นได้ง่าย ๆ โดย โอนเงิน จากบัญชี ออมทรัพย์ ที่รับเงินเดือนเพื่อเริ่มการลงทุนได้ทันที

อ่านเพิ่มเติม money exchange
https://www.scb.co.th/th/personal-banking/foreign-exchange-rates.html

อ่านเพิ่มเติม currency exchange
https://www.scb.co.th/th/personal-banking/foreign-exchange-rates.html


ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการลงทุนผ่าน กองทุน สิ่งที่คนทำงานประจำไม่ควรพลาด

คนที่ทำงานประจำมักจะมีรายได้ที่ค่อนข้างแน่นอนที่อยู่ในรูป “เงินเดือน” จะมีความได้เปรียบในการวางแผนทางการเงินมากกว่าคนที่ทำงานอิสระ หรือนักธุรกิจ การลงทุนผ่าน กองทุน นั้น เป็นช่องทางที่ทางรัฐบาลสนับสนุน จึงให้สิทธิพิเศษสำหรับผู้ที่ลงทุนผ่านทางช่องทางนี้ เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนในประเทศมีเงินออมไว้ใช้ในยามเกษียณ ซึ่งแตกต่างจากการลงทุนด้วยตัวเองในการซื้อหุ้นทุน แม้อาจจะไม่หวือหวาได้ลุ้นกำไรระยะสั้น แต่ก็เสี่ยงต่ำกว่าการลงทุนในหุ้นทุนมาก เป็นการสร้างความมั่นคงทางการเงินในระยะยาวได้ หากเลือกลงทุนตามหลักวิธี

การลงทุนใน RMF และ SSF นั้นได้รับการลดหย่อนภาษีสูงสุดถึงร้อยละ 30 และยังสามารถลดหย่อนได้สูงสุดถึง 500,000 บาท รัฐบาลจะช่วยสนับสนุนโดยการให้การลดหย่อนภาษีในส่วนนี้ ทำให้คนทำงานประจำอย่างเราเสียภาษีถูกลง และได้ผลประโยชน์ทางภาษีนั้นกลับมาในทันที

การลงทุนผ่านช่องทางนี้นั้นทำได้ง่าย เนื่องจากมีขั้นต่ำที่ค่อนข้างน้อย บางแห่งเริ่มต้นเพียง 1,000 บาท ทำให้สามารถบริหารจัดการโดยการนำเงินเดือนแต่ละเดือนมาลงทุน หรือที่เรียกว่า Dollar cost averaging (DCA) ซึ่งทำง่าย ๆ ได้โดย โอนเงิน จากบัญชี ออมทรัพย์ ของธนาคารโดยตรง ซึ่งเป็นวิธีการที่สะดวกและเป็นการกระจายความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาสินทรัพย์ โดยเฉพาะการลงทุนในต่างประเทศที่มีความเสี่ยงของ อัตราแลกเปลี่ยน

เมื่อเข้าสู่วัยเกษียณโดยที่มีการลงทุนอย่างสม่ำเสมอ ผู้ลงทุนจะมีเงินก้อน ๆ หนึ่ง เพราะได้สะสมการออมมาเป็นระยะเวลาหลายปี สมมติว่า นาย A อายุ 30 ปี ซึ่งทำงานประจำ ได้ลงทุนเพื่อลดหย่อนภาษีปีละ 100,000 บาท ไปจนถึงอายุ 55 ปี ทำให้เมื่อนาย A เกษียณจะมีเงินที่ลงทุนสะสมไว้สูงถึง 25 x 100,000 = 2,500,000 บาท ซึ่งเพียงพอต่อการใช้ชีวิตในยามเกษียณ 

ผู้บริหารมืออาชีพมีแนวโน้มจะทำให้เงินมีมูลค่าเพิ่มขึ้น โดยการจัดสรรเงินลงทุนในสินทรัพย์ต่าง ๆ เช่น พันธบัตร หุ้นกู้ หุ้น หรือ ลงทุนในต่างประเทศ เป็นต้น การลงทุนที่มีความเสี่ยงสูง เช่น การลงทุนในหุ้นต่างประเทศ จะทำให้มีโอกาสได้รับผลตอบแทนที่สูงขึ้น ขณะเดียวกันก็มีความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นจาก currency exchange SCB ในทางกลับกัน การลงทุนที่มีความเสี่ยงต่ำ เช่น การลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล หรือเงินฝาก ออมทรัพย์ จะให้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างต่ำ ขณะเดียวกันก็มีความเสี่ยงที่ต่ำเช่นกัน แต่โดยรวม ๆ แล้วการลงทุนในสินทรัพย์ที่มืออาชีพคัดสรรนั้นมีแนวโน้มทำให้ได้ผลตอบแทนเพิ่มขึ้น

 

สรุป การลงทุนผ่าน กองทุน จะให้ประโยชน์ 3 ต่อ คือ ต่อแรก ใช้ลดหย่อนภาษี ต่อที่สอง เป็นเงินออมไว้ใช้ในยามเกษียณ ต่อสุดท้าย เพิ่มผลตอบแทนในอนาคต ซึ่งมนุษย์เงินเดือนอย่างเราสามารถเริ่มต้นได้ง่าย ๆ โดย โอนเงิน จากบัญชี ออมทรัพย์ ที่รับเงินเดือนเพื่อเริ่มการลงทุนได้ทันที

 

อ่านเพิ่มเติม money exchange

https://www.scb.co.th/th/personal-banking/foreign-exchange-rates.html
 
 

บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที