jira

ผู้เขียน : jira

อัพเดท: 29 พ.ย. 2022 06.10 น. บทความนี้มีผู้ชม: 97616 ครั้ง

แตงกวา ผักบุ้ง กัญชา ทุเรียน ถั่วฝักยาว เป็นโรคเชื้อรา
มะละกอ พริก ส้ม มะนาว ข้าวโพด หอม กระเทียม เป็นโรคเชื้อรา


มะเขือเทศเป็นเชื้อรา

โรคมะเขือเทศ เป็นเชื้อรา มะเขือเทศเป็นโรค สารกำจัดโรคมะเขือเทศ สารป้องกันโรคมะเขือเทศ
โรคมะเขือเทศ โรคเหี่ยวลาย โรคผลเน่า โรคใบด่าง โรคใบจุด โรคใบแห้ง มะเขือเทศเป็นเชื้อรา โรคมะเขือเทศใบหงิก โรคใบหงิกเหลืองมะเขือเทศ โรคมะเขือเทศสีดา โรคใบด่างเรียวเล็ก โรคใบไหม้
ตัวอย่างโรคมะเขือเทศ
 
โรคเหี่ยวเขียวมะเขือเทศ เชื้อแบคทีเรีย โรคมะเขือเทศเหี่ยวเขียว ลักษณะอาการ อาการเริ่มแรกใบล่างจะเหี่ยวและลู่ลง ใบแก่ที่อยู่ล่างๆมีอาการสีเหลือง และใบที่เหี่ยวด้านบนจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง 
ระยะแรกจะแสดงอาการเหี่ยวเฉพาะเวลากลางวันที่อากาศร้อนจัด ต่อมาอาการเหี่ยวจะนานขึ้นจนกระทั่งเหี่ยวตลอดทั้งวัน อาการจะลุกลามขึ้นไปยัง ส่วนยอดของต้น 
ขอบใบม้วนลงด้านล่าง เมื่อทำการถอนต้นขึ้นมาจะพบว่าเกิดอาการเน่าขึ้นที่ราก เมื่อเป็นโรคมากขึ้นภายในลําต้นจะกลวงเนื่องจากถูกเชื้อแบคทีเรียทําลายเนื้อเยื่อและตายในที่สุด
 
โรคใบแห้ง ที่เกิดจากเชื้อรา ลักษณะอาการ มะเขือเทศจะแสดงอาการของโรคได้ทุกส่วนของต้น สีเขียวหม่น ใบเริ่มมีจุดฉ่ำน้ำ เนื้อเยื่อรอบๆ แผลมีสีเหลืองเล็กน้อย 
ส่วนมากแผลเกิดขึ้นที่จุดหนึ่งบนขอบใบก่อนแล้วขยายใหญ่กว้างออกไปจนเกือบหมดทั้งใบ ด้านท้องใบมีเส้นใยของเชื้อราเกิดขึ้น มีลักษณะเป็นผงสีขาว 
ผลมะเขือเทศอ่อนที่เป็นโรคนี้จะมีแผลสีน้ำตาลเช่นกัน มีผิวแตกและมีเชื้อราขึ้นตรงรอยแตกเห็นได้ชัดเจน
 
โรคมะเขือเทศใบด่างเรียวเล็ก ที่เกิดจากเชื้อไวรัส โรคมะเขือเทศใบด่าง การแพร่ระบาด โรคนี้สามารถถ่ายทอดการแพร่ระบาดโดยเพลี้ยอ่อน โรคมะเขือเทศใบด่างเรียวเล็ก
ลักษณะอาการ ใบมะเขือเทศจะม้วนงอ ต้นมะเขือเทศจะแคระแกรน ถ้าอาการรุนแรงมากขึ้น ใบมะเขือเทศจะเรียวเล็กกว่าปกติ จะไม่ติดผล หรือถ้าติดผลก็จะเล็ก
 
โรคใบจุด ที่เกิดจากเชื้อเชื้อรา ลักษณะอาการ โรคใบจุดที่เกิดกับมะเขือเทศจะทำให้เกิดจุดได้หลายแบบ เช่น จุดวงกลมสีน้ำตาลและจุดเหลี่ยม มีราขึ้นเป็นผงสีดำ และ ทำให้ใบเหลืองและแห้ง
 
โรคมะเขือเทศเหี่ยวเหลือง ที่เกิดจากเชื้อรา ลักษณะอาการ ต้นมะเขือเทศที่เป็นโรคนี้แสดงอาการเหี่ยวเริ่มจากใบส่วนล่างของต้น เปลี่ยนเป็น สีเหลืองตายไปทั้งต้นและเหี่ยว 
อาการของโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อสาเหตุทั้งสองชนิดนี้ มีความแตกต่างกันดังนี้ โรคมะเขือเทศเหี่ยวเหลือง อาการเหี่ยวจากเชื้อ Sclerotium rolfsii 
โคนต้นมะเขือเทศบริเวณระดับดิน หรือส่วนของต้นพืชที่ติดกับดินจะถูกทำลาย และมีเส้นใยของเชื้อรา ขึ้นปกคลุมอยู่ บางครั้งมีเม็ดสีน้ำตาล ขนาดเท่าเมล็ดผักกาดติดอยู่กับเส้นใยนี้ 
ทำให้เรียกโรคนี้อีกชื่อหนึ่งว่า โรคราเมล็ดผักกาด โรคมะเขือเทศเหี่ยวเหลือง อาการเหี่ยวจากเชื้อ Fusarium oxysporum ที่บริเวณโคนต้นภายนอกไม่มีอาการผิดปกติ 
แต่ถ้าผ่าตามยาวของต้นพบว่า บริเวณท่อน้ำท่ออาหารมีสีน้ำตาลแดงหรือแดง ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญของโรคที่เกิดจากเชื้อราตัวนี้
 
โรคมะเขือเทศ เป็นเชื้อรา มะเขือเทศเป็นโรค สารกำจัดโรคมะเขือเทศ สารป้องกันโรคมะเขือเทศ
สนใจสอบถามเพิ่มเติมได้ที่  TEL 098-746-4793 , TEL 097-193-7840
Line id: zateer , Line@: @zateer (ใส่แอดด้วยนะคะ) คุณน้อง
รายละเอียดเพิ่มเติม
https://zateers.com/greens/cucumber/index.php

บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที