jira

ผู้เขียน : jira

อัพเดท: 29 พ.ย. 2022 06.10 น. บทความนี้มีผู้ชม: 97123 ครั้ง

แตงกวา ผักบุ้ง กัญชา ทุเรียน ถั่วฝักยาว เป็นโรคเชื้อรา
มะละกอ พริก ส้ม มะนาว ข้าวโพด หอม กระเทียม เป็นโรคเชื้อรา


กล้วยไม้เป็นเชื้อรา

โรคกล้วยไม้ เป็นเชื้อรา กล้วยไม้เป็นโรค สารกำจัดโรคกล้วยไม้ สารป้องกันโรคกล้วยไม้
กล้วยไม้ใบแห้ง กล้วยไม้รากเน่า กล้วยไม้รากแห้ง โรคเน่าดำกล้วยไม้ โรคใบปื้นเหลือง ใบจุดกล้วยไม้ โรคใบด่าง ยอดบิด โรคไวรัสกล้วยไม้ กล้วยไม้เป็นเชื้อรา ดอกสนิมกล้วยไม้ กล้วยไม้ช้างใบเหลือง โรคกล้วยไม้สกุลช้าง
 
ตัวอย่างโรคกล้วยไม้ 
 
โรคเน่าดําหรือโรคเน่าเข้าไส้ เกิดจากเชื้อราไฟทอฟธอรา อาการของโรค โรคเกิดได้กับทุกส่วนและทุกระยะของกล้วยไม้มีอาการเน่าดํา ชํ้านํ้า และอาการแห้งตาย อาจพบอาการใบเหลืองและเน่าดํา เริ่มจากปลายใบลุกลามมาโคนใบ รากที่เป็นโรคจะเหี่ยวแฟบ ดูดนํ้าและแร่ธาตุไม่ได้ ต้นกล้วยไม้จะเหลืองและเหี่ยวอย่างรวด เร็ว หากโรคทําลายภายในลําต้น ทําให้เกิดอาการเน่าเรียกว่าโรคเน่าเข้าไส้ กล้วยไม้แสดงอาการใบเหลืองและอาการทิ้งใบ
 
โรคกล้วยไม้โรคเน่าเละ ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โรคกล้วยไม้โรคเน่าเละ ลักษณะอาการ อาการที่พบเริ่มแรกจะเป็นจุดฉ่ำน้ำก่อน เมื่อดมกลิ่นบริเวณที่เป็นโรคจะมีกลิ่นเหม็นเฉพาะตัวเนื้อเยื่อภายในถูกทำลายหมดเหลือแต่ผิวนอก บริเวณแผลเน่าจะมีเมือกเยิ้มแฉะ ต่อมาอาการจะลุกลามเป็นแผลช้ำขนาดใหญ่ สีน้ำตาลหรือสีเหลือง เมือ่เจอแสงแดดจัดเนื้อเยื่อจะเน่ายุบตัว คล้ายน้ำร้อนลวก ใบจะหลุดร่วง และเน่าตายในที่สุด
 
โรคใบด่างหรือยอดบิด ที่เกิดจากเชื้อไวรัส ลักษณะอาการของโรคแสดงอาการรุนแรงในกล้วยไม้สกุลหวาย กล้วยไม้มีจํานวนช่อดอกลดลง ดอกเล็ก สีซีด และร่วงก่อนกําหนด ในกล้วยไม้ที่โตเต็มที่ อาการของโรคมีลักษณะเป็นขีดขาวสั้นๆบริเวณโคนใบ ดอกแคระแกร็น กลีบดอกมีสีเข้มเป็นแต้มหนา อาจมีรูปร่างผิดปกติ
 
โรคกล้วยไม้ โรคแอนแทรคโนส เกิดจากเชื้อรา โรคกล้วยไม้แอนแทรคโนส เป็นโรคที่ได้กับกล้วยไม้ทุกชนิด เกิดได้ทั้งที่ปลายใบและกลางใบของกล้วยไม้ โดยเฉพาะกล้วยไม้สกุลออนซิเดียมจะอ่อนแอต่อโรคนี้ แผลจะมีลักษณะที่สังเกตได้ชัดเจน คือ เป็นวงเรียงซ้อนกันหลายๆชั้นเป็นแผลสีน้ำตาล และจะมีกลุ่มของเชื้อราเป็นสีดำเกิดขึ้นบนวงซ้อนกัน
 
โรคกล้วยไม้โคนเน่าแห้ง หรือ โรคเหี่ยว ที่เกิดจากเชื้อรา โรคกล้วยไม้โคนเน่าแห้ง หรือ โรคเหี่ยว ลักษณะอาการ เชื้อราเข้าทำลายทางราก รากของกล้วยไม้จะเหี่ยวแห้งอย่างช้าๆ หรือ บริเวณตาหน่อตรงโคนต้น ค่อยๆลุกลามไปสู่ยอดกล้วยไม้เกิดอาการโคนเน่า ถ้าเกิดกับกล้วยไม้ที่เพิ่งย้ายออกจากขวดปลูกในกระถางใหม่ๆ ใบจะเหลืองเหี่ยวจากใบล่างไปสู่ยอด ต้นแกร็นทรุดโทรมเร็วและตายในที่สุด
 
โรคกล้วยไม้ เป็นเชื้อรา กำจัดโรคกล้วยไม้ กล้วยไม้เป็นโรค ป้องกันการเป็นของโรคกล้วยไม้
สนใจสอบถามเพิ่มเติมได้ที่  TEL 098-746-4793 , TEL 097-193-7840
Line id: zateer , Line@: @zateer (ใส่แอดด้วยนะคะ) คุณน้อง
รายละเอียดเพิ่มเติม
https://zateers.com/greens/orchid/index.php

บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที