วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (1)
ตอนที่ 117
วันที่ 30
บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (1)
อาจารย์แดน : ยังมีหลักการคิด…แบบไคเซ็น เพื่อให้เกิดความสมดุลชีวิตการทำงาน….ค้างอยู่ตอนสุดท้ายของวันที่ 29…..ซึ่งเป็นเรื่องสมดุลชีวิตการทำงานแบบไคเซ็น….เพื่อทบทวนความเข้าใจในหลักสมดุล…ศิษย์โดม…มาช่วยกันสรุปความหมายในแง่นี้ว่าเป็นอย่างไร..? และในตอนท้ายของวันที่ 30 ท่านอาจารย์ดอนก็จะมาปิดการอบรมเชิงนวัตกรรมการบริหารร่วมสมัยในครั้งนี้ด้วย!
ศิษย์โดม : สมดุลเป็นความพอเพียงที่ ไม่ลำเอียงไปด้านหนึ่งด้านใด….หยุดนิ่ง ณจุดที่เท่ากัน…..จะเป็นไคเซ็นได้อย่างไรครับ ?….ในเมื่อไคเซ็นต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและแก้ไขให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง….
อาจารย์แดน : หลักของไคเซ็นสามารถทำให้เกิด…..สมดุลชีวิตการทำงาน….โดยแยกเป็น 3 สภาวะ…..คือ 1.สภาวะสมดุลไคเซ็น บนฐานของ หิริ โอตตัปปะ เป็นการพัฒนาเพื่อทำความดีงามอย่างต่อเนื่อง ยึดหลักของความถูกต้องและยุติธรรม…ด้วยสภาวะของหน้าที่ความรับผิดชอบภายใต้ เวลา โอกาสและสถานที่….2. สภาวะการดำเนินชีวิตไคเซ็น เป็นวิถีที่เรียบง่าย ด้วยการอยู่ร่วมกันของสังคมปัจเจกชน สังคมครอบครัว และสังคมองค์กร…..บนฐานของ ขันติ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา….พร้อมด้วยความเมตตา กรุณา….ซึ่งสร้างความแน่วแน่ของสภาวะจิต ให้คงที่อดทน สร้างความเป็นมงคล แก่ชีวิตอย่างต่อเนื่อง ด้วยความรักและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข….3. สภาวะสมดุลการทำงานไคเซ็น เป็นการทำงานด้วยระบบธรรมาภิบาล บนฐานของ ศีลธรรม คุณธรรมและจริยธรรม…ช่วยสร้างวัฒนธรรมองค์กรและมีการปรับปรุงให้ดีขึ้นให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ซึ่งเข้ากับเหตุการณ์และสถานการ และเวลาอย่างต่อเนื่อง….ไม่ตกยุค-หลงยุค!
ศิษย์โดม : แสดงว่า….ความต่อเนื่องของ เหตุการณ์ เวลาและกิจกรรม ต้องสัมพันธ์กันอย่างพอดี จึงทำให้เกิด สมดุลชีวิตการทำงานแบบไคเซ็น…หรือครับ!
อาจารย์แดน : …..สมดุลไคเซ็น…..เป็นการสร้างสภาวะเสถียรทางจิต…..เหมือนกับอะตอมต้องการให้อิเล็คตรอนวงนอกครบ (แปด) จึงจะเสถียร ซึ่งอะตอมที่มีอัตราส่วนนิวตรอน ต่อ โปรตอน มากเกินไปก็จะไม่เสถียร……อีกบริบทหนึ่งคือ เสถียรของอะไร เช่นเสถียรกลศาสตร์ ก็เป็นไปได้ที่วัตถุหยุดอยู่กับที่ ไม่มีการเคลื่อนที่แต่อะตอมมีการเคลื่อนที่…..หรือจะหมายถึงความมั่นคง แข็งแรง ถ้าเป็นเสถียรของคอมพิวเตอร์คือโปรแกรมปราศจากไวรัส……ส่วนทางสังคมคือการมีเสถียรภาพในการปกครองประเทศของรัฐบาล….เป็นต้น
ศิษย์โดม : ถ้าสมดุลไคเซ็นเป็นการรักษาสภาวะเสถียรทางจิต….ก็ต้องมีการกำหนดมาตรฐานของสภาวะทางจิตด้วยว่า….สามารถรักษาและปฏิบัติให้รู้ถึงตัวตนอยู่ตลอดทุก ขณะจิตนั้นๆ ว่าควรจะตอบสนองอะไรกับสิ่งกระทบ….ถ้าไม่ตอบสนองก็เป็นไปได้ที่เกิดสภาพที่ไม่เสถียร!
อาจารย์แดน : ผู้บริหารส่วนใหญ่จะมองที่ผลกำไรและการเพิ่มกำไร…..ด้วยการลดต้นทุนการผลิต การเพิ่มราคาขาย เพิ่มยอดขาย และการผลิตสินค้าใหม่ๆออกสู่ตลาด …..ซึ่งถ้าได้รับความสำเร็จก็ถือว่าเป็นผลลัพธ์ปลายทางของนวัตกรรม….ที่ผู้บริหารส่วนใหญ่ปรารถนา…..เป็นความเสถียรทางวัสดุ กระบวน เทคนิค เวลา และบุคลากร….ที่สามารถเพิ่มผลผลิตได้ทุกอย่างให้อยู่ในสภาวะที่เสถียรซึ่งพร้อมที่จะไม่เสถียร!
ศิษย์โดม : …..สภาวะที่เสถียรซึ่งพร้อมที่จะไม่เสถียร…..หมายถึงสภาพทางกายภาพที่แน่นพอดี (fit) ….ซึ่งต้องหาวิธีรักษาสภาพเสถียรนี้ไว้ให้ได้ !
อาจารย์แดน : ผู้บริหารจะต้องประคองสภาพความแน่นพอดีอย่างเหมาะสมเพราะตามที่เห็นภาพหรือได้สัมผัสก็จะบอกได้ยากมาก…ว่าเพลาที่อัดอยู่กับรูเพลานั้นเป็นการสวมประเภทใด…ที่เราเรียกว่ามาตรฐานการสวม…clearance fit…transition fit….หรือ interference fit…..รู้อย่างเดียวว่า t ight/fitting ……แต่การปรับปรุงให้ดีขึ้น พอดีขึ้น เหมาะสมกับการใช้งานมากขึ้นก็เรียกว่า fit เช่นฟิตเครื่องยนต์ ฟิตร่างกาย เป็นต้น !.....มนุษย์ทุกคนอยากจะ เห็น/ต้องการ การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นต้องขึ้นอยู่กับ จังหวะ เวลา และโอกาส
ศิษย์โดม : โอกาสที่จะได้รับหรือขวนขวายที่จะได้มาด้วยความขยัน เสียสละ อดทน เพื่อให้ตนได้เรียนรู้….อย่างถูกต้องชอบด้วย คุณธรรม จริยธรรม และยุติธรรม…..คือทุกคนต้องเริ่มที่ตนเองก่อน!
อาจารย์แดน : ผู้บริหารต้องมี…วิสัยทัศน์ สติและปัญญา …ใช้ดุลพินิจพิจารณา ระหว่างผลลัพธ์ปลายทางที่พร้อม ขาดสมดุล หรือการสร้างความสมดุลให้กับบุคลากร ของตน ซึ่งผลตอบแทนปลายทางเหมือนกันแต่ใช้เวลาต่างกัน…..ผลลัพธ์เชิงนวัตกรรมจะอยู่บนความพร้อมเสียสมดุล…..การพัฒนาทางจิตต้องได้รับการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องด้วย….. เป็นการปรับปรุงจิตที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง (Continuos Conscious Improvement)
ศิษย์โดม : แสดงว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่ตื่นตระหนกกัน….ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 เป็นต้นมา มีโอกาสถึงวันสิ้นสุดของโลก เพราะมีเรื่องยุ่งๆที่มาจากผลกระทบภายนอกโลกมากขึ้นตามลำดับจนถึงปัจจุบัน……เช่นว่าจะมีการพุ่งชนโลกของ ดาวหางและลูกอุกาบาต หรือแม้แต่ มีกระแสคลื่นจากสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์ส่งผลมาทำลายชั้นบรรยากาศของโลก มีผลต่อการกลับขั้วของสนามแม่เหล็กโลก และการที่แกนโลกเอียง (Shifting North Pole) เพิ่มมากขึ้น….น้ำแข็งขั้วโลกถูกดวงอาทิตย์ทำลายมากขึ้น จนอาจเกิดน้ำท่วมโลกได้ใน อนาคตข้างหน้า…..ทุกอย่างที่กล่าวมากำลังเสียสมดุล!
อาจารย์แดน : นับจากดวงอาทิตย์…ศูนย์กลางของ solar system โลกเป็นดาวเคระห์ดวงที่สามต่อจากดาวพุธ และดาวศุกร์ ของดาวบริวาลทั้ง 8 ดวง และสองลำดับนอกสุดคือ ยูเรนัส เนปจู …….ส่วนดาวพลูโตก็ได้ถูกจัดเป็นดาวเคราะห์แคระ และก็ยังมี Nibiru เป็นวงนอกสุด ของระบบสุริยะจักรวาลนี้ด้วย……และที่จุดสมดุลของการกำเนิดโลก ที่ระยะโคจรห่างจากดวงอาทิตย์ราว 150 ล้านกิโลเมตร เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ทั้งฟิสิกส์และเคมี ราว 5,000 ล้านปี จนทำให้ความร้อนที่ผิวลดลงจนมีชั้นบรรยากาศที่ประกอบด้วย ก๊าซไนโตรเจนและออกซิเจนเป็นส่วนใหญ่ปกคลุมเปลือกโลกที่ประกอบด้วยดิน 1 ส่วนและน้ำ 3 ส่วน…..จนก่อให้เกิดสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นมาภายใต้ชั้นบรรยากาศของโลกใบนี้ ….และโลกก็ยังมี luna เป็นดาวบริวาลซึ่งก็มีการจัดสมดุลของแรงเหนี่ยวนำของวงโคจรโดยมีการหมุ่นรอบตัวเองใช้เวลา 24 ชั่วโมงและรอบดวงอาทิตย์ของระบบสุริยะ ใช้เวลา 1 ปี….ทำให้เกิดกลางวัน- กลางคืน และฤดูกาลที่แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ แต่ละทวีปของโลก ……..ความร้อนจากดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นศูนย์กลางของ solar system จะปะทุและส่งออกมาเป็นคลื่นของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ที่เป็นรังสีความร้อนแผร่กระจ่ายไปทั่วทั้งระบบสุริยะและปกคลุมชั้นบรรยากาศของโลกอยู่ตลอดเวลา…….โลกก็พยายามจัดสมดุลของชั้นบรรยากาศทั้ง 5 ชั้นไม่ให้ผลของรังสีที่เป็นพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าเข้ามาทำลายพื้นผิวโลกได้โดยตรง !
ที่โดมกล่าวมาว่า…..เหตุทุกขภิกขภัย ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นของโลกในปัจจุบันนี้….เกิดจากการเสียสมดุล…..ใช่! เสียสมดุลของทุกอนูของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตที่เป็นสสารและมีมวลสาร…..ที่มีพลังงานและพลังงานจากสิ่งเหล่านี้ก็ถูกกระต้นด้วยการกระทำของมนุษย์และการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ….ทุกอย่างเกิดอย่างผสมผสานพร้อมๆกันมาเป็นลำดับ…..สสารและมวลสารไม่หายไปไหลเพียงแต่แปรสภาพเปลี่ยนสถานะและปลดปล่อยออกมาในรูปของพลังงาน…..ทั้งหมดทั้งสิ้น!
พลังงานที่เป็นคลื่นบางตัวที่ปลดปล่อยออกมาก็ไม่สามารถวัดได้….แต่สามารถสื่อได้ด้วยกระแสของญาณ….กระแสญาณก็ไม่สามารถสร้างได้ด้วยสภาวะที่ไม่ปกติ นอกจากสภาวะที่ว่างเปล่าคือ ศูนย์ คือศูนย์ที่มวลสารและสสาร (เปลี่ยนสถานะ) แต่ยังคงอยู่ของพลังคลื่นอนุภาคของจิตจักรวาล…..ที่สามารถคลี่ขยายปรากฏเป็นจิตวิญญาณได้เสมอ….ขึ้นอยู่กับสถานะทางกายภาพของ…การเกิด แก่ เจ็บ และการตาย……ซึ่งเป็นวัฏจักร!
ศิษย์โดม : …..การเกิดใหม่ก็เป็นเพียงปรากฏการณ์ทางจิตซิครับ!
อาจารย์แดน : ใช่!...ทั้งหมดนี้ต้องการมวลสาร และที่ว่างของการเกิด…..ถ้าเป็นมนุษย์ก็ต้องเกิดแบบ…ชลาพุชะ…..ถ้าเป็นสัตว์ก็เป็นการเกิดแบบ…สังเสทชะและอัณฑชะ….ส่วนที่พิเศษก็ต้องพวก โอปปาติกะ ….สำคัญที่ ต้องเติมเต็มด้วยบุญและญาณ กับมิติของเวลาที่เหมาะสมบนโลก จึงเป็นรูปธรรมที่ปรุงแต่งครบทั้งกายและจิต!
ศิษย์โดม : ทั้งหมดนี้สามารถจัดได้ด้วยระบบ….ไคเซ็น….เป็นไคเซ็นพลังจิตจักรวาล
อาจารย์แดน : ไคเซ็นพลังจิตจักรวาล……เท่านั้นที่สามารถต้านกระแสคลื่นการเผาผลาญที่มาจาก solar flares
หรือ พลังงานมหาศาลที่ดวงอาทิตย์ปลดปล่อยออกมา มีความเข้มของสนามแม่เหล็กและอุณหภูมิสูงกว่า 4,000เคลวิน บนพื้นผิวดวงอาทิตย์…ได้!
ศิษย์โดม : …..ไม่เกินความสามารถหรือครับ!
อาจารย์แดน : ไม่เกินแน่นอน!… เพราะเกิดจากจิตสำนึกในการพัฒนาที่ต้องการสร้างสิ่งที่ดีขึ้นเป็นลำดับๆ…..จากกายและจิตที่เป็นคลื่นของอนุภาคจิตเชื่อมต่อกับจักรวาลอยู่แล้ว !.......ในตอนนี้จึงขอสรุปที่ เรื่องสมดุลชีวิตการทำงานแบบไคเซ็น เป็นสมดุลชีวิตการทำงาน….ภายใต้ 3 สภาวะคือ…สภาวะสมดุลไคเซ็น…สภาวะการดำเนินชีวิตไคเซ็นและสภาวะสมดุลการทำงานไคเซ็น…..บนพื้นฐานของพลังคลื่นอนุภาคของจิตจักรวาล ซึ่งต้องช่วยกันสร้างพลังคลื่น ไคเซ็นจิตจักรวาลนี้…..โดยไม่มีขีดจำกัดของมิติเวลา!
////////////////////////////////////////
6/1/2556
บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที
- ตอนที่ 1 : กล่าวนำ
- ตอนที่ 2 : "ทำความเข้าใจตนเองว่าอยู่ในฐานะใด....?และพร้อมที่จะทำ....?"
- ตอนที่ 3 : "ทดสอบความเป็นผู้นำ"
- ตอนที่ 4 : "ทดสอบธรรมาภิบาล"
- ตอนที่ 5 : "ท่านเป็นผู้บริหารแบบไหน"
- ตอนที่ 6 : " การฝึกความคิดอย่างมี.....สติ....ของผู้นำ"
- ตอนที่ 7 : "10 ผู้นำ/CEO
คติที่น่านำไปใช้"
- ตอนที่ 8 : "10 ผู้นำ/CEO
(..2..)คติที่น่านำไปใช้ "
- ตอนที่ 9 : "10 ผู้นำ/CEO
(..จบ..)คติที่น่านำไปใช้ "
- ตอนที่ 10 : "บทสรุปและเตรียมตัวเพื่อ
Change in 30 day"
- ตอนที่ 11 : "วันที่ 1 ศาสตร์ของการบริหารงาน (-1-)"
- ตอนที่ 12 : "วันที่ 1 ศาสตร์ของการบริหารงาน (-2-)"
- ตอนที่ 13 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (-1-)"
- ตอนที่ 14 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (บทแทรกของตอนที่13)"
- ตอนที่ 15 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (-2-)"
- ตอนที่ 16 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (บทแทรกของตอนที่15-1-)"
- ตอนที่ 17 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (บทแทรกของตอนที่15-2-)"
- ตอนที่ 18 : วันที่ 3 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-1-)"
- ตอนที่ 19 : วันที่ 4 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-2-)"
- ตอนที่ 20 : วันที่ 5 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-3-)"
- ตอนที่ 21 : วันที่ 6 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-4-)"
- ตอนที่ 22 : วันที่ 7 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-5-)"
- ตอนที่ 23 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " PDCA Cycle / Deming Cycle (-1-)"
- ตอนที่ 24 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " PDCA Cycle / Deming Cycle (-2-)"
- ตอนที่ 25 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " " PDCA Cycle / Deming Cycle" (-3-)"
- ตอนที่ 26 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " " PDCA Cycle / Deming Cycle" (-4-)"
- ตอนที่ 27 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " " PDCA Cycle / Deming Cycle" (-5-)"
- ตอนที่ 28 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " " PDCA Cycle / Deming Cycle" (-6-)"
- ตอนที่ 29 :
- ตอนที่ 30 : วันที่ 9 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)" สรุป Deming Cycle"
- ตอนที่ 31 : วันที่ 10 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)"5S , Fish Bone Diagram , Pareto Chart , Check Sheet "
- ตอนที่ 32 : วันที่ 10 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)"5S , Fish Bone Diagram , Pareto Chart , Check Sheet "
- ตอนที่ 33 : วันที่ 10 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)"5S , Fish Bone Diagram , Pareto Chart , Check Sheet "
- ตอนที่ 34 : วันที่ 11 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)"QC Story"
- ตอนที่ 35 : วันที่ 11 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)"QC Story"
- ตอนที่ 36 : วันที่ 11 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)Stiglitz vs E. Porter "QC Story"
- ตอนที่ 37 : วันที่ 11 ศาสตร์ของการบริหารงาน (4)Stiglitz vs E. Porter "QC Story"
- ตอนที่ 38 : วันที่ 12 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)(5S -5G- 3M-1J )"QC Story"
- ตอนที่ 39 : วันที่ 12 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)(Paul R. Krugman )"QC Story"
- ตอนที่ 40 : วันที่ 12 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)( QC Step of Change)"QC Story"
- ตอนที่ 41 : วันที่ 12 ศาสตร์ของการบริหารงาน (4)(Problem Solving )"QC Story"
- ตอนที่ 42 : วันที่ 13 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)Strategic Management
- ตอนที่ 43 : วันที่ 13 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)( strategic vocab) Strategic Management
- ตอนที่ 44 : วันที่ 13 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)( Management and Strategic Management ) Strategic Management
- ตอนที่ 45 : วันที่ 14 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)( Theory of Management ) Strategic Management
- ตอนที่ 46 : วันที่ 14 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)( Diagram of Maslows and McGregors Theory ) Strategic Management
- ตอนที่ 47 : วันที่ 14 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)(Theory of Management ) Strategic Management
- ตอนที่ 48 : วันที่ 14 ศาสตร์ของการบริหารงาน (4)(Theory of Management ) Strategic Management
- ตอนที่ 49 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)(Strategy Formulation) Strategic Management
- ตอนที่ 50 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)(Strategy Implementation-1) Strategic Management
- ตอนที่ 51 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)(Strategy Implementation-2) Strategic Management
- ตอนที่ 52 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (4)(Evaluation and Control -1) Strategic Management
- ตอนที่ 53 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (5)(Evaluation and Control -2) Strategic Management
- ตอนที่ 54 : วันที่ 16 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management) (BSC & KPI -1)
- ตอนที่ 55 : วันที่ 16 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management) (BSC & KPI -2)
- ตอนที่ 56 : วันที่ 16 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management) (BSC & KPI -3)
- ตอนที่ 57 : วันที่ 16 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management) (BSC & KPI -4)
- ตอนที่ 58 : วันที่ 17 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(1), (Case Study -1)
- ตอนที่ 59 : วันที่ 17 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(2), (Case Study -2)
- ตอนที่ 60 : วันที่ 17 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(3), (Case Study -3)
- ตอนที่ 61 : วันที่ 17 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(4), (Case Study -4)
- ตอนที่ 62 : วันที่ 18 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(1), (Case Study -5)
- ตอนที่ 63 : วันที่ 18 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(2), (Case Study -6)
- ตอนที่ 64 : วันที่ 18 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(3), (Case Study -7)
- ตอนที่ 65 : วันที่ 18 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(4), (Case Study -8)
- ตอนที่ 66 : วันที่ 19 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(1), (Case Study -9)
- ตอนที่ 67 : วันที่ 19 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(2), (Case Study -10)
- ตอนที่ 68 : วันที่ 19 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(3), (Case Study -11)
- ตอนที่ 69 : วันที่ 20 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(4), (Case Study -12)
- ตอนที่ 70 : วันที่ 20 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(5)(Case Study -13)
- ตอนที่ 71 : วันที่ 20 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(6), (Case Study -14)
- ตอนที่ 72 : วันที่ 20 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(7), (Case Study -15)
- ตอนที่ 73 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(8), (Case Study -16)
- ตอนที่ 74 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(9), (Case Study -17)
- ตอนที่ 75 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(10), (Case Study -18)
- ตอนที่ 76 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(11), (Case Study -19)
- ตอนที่ 77 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(จบ)
- ตอนที่ 78 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(1)
- ตอนที่ 79 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(2)
- ตอนที่ 80 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(3)
- ตอนที่ 81 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(4)
- ตอนที่ 82 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(5)
- ตอนที่ 83 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(6)
- ตอนที่ 84 : วันที่ 23 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(1)
- ตอนที่ 85 : วันที่ 23 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(2)
- ตอนที่ 86 : วันที่ 23 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(3)
- ตอนที่ 87 : วันที่ 23 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(4)
- ตอนที่ 88 : วันที่ 24 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(1)
- ตอนที่ 89 : วันที่ 24 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(2)
- ตอนที่ 90 : วันที่ 24 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(3)
- ตอนที่ 91 : วันที่ 24 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(4)
- ตอนที่ 92 : วันที่ 25 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(1)
- ตอนที่ 93 : วันที่ 25 Buddhism and Scientific Management (2)
- ตอนที่ 94 : วันที่ 25 Buddhism and Scientific Management (3)
- ตอนที่ 95 : วันที่ 25 Buddhism and Scientific Management (4)
- ตอนที่ 96 : วันที่ 26 Emptiness Management (1)
- ตอนที่ 97 : วันที่ 26 Emptiness Management (2)
- ตอนที่ 98 : วันที่ 26 Emptiness Management (3)
- ตอนที่ 99 : วันที่ 26 Emptiness Management (4)
- ตอนที่ 100 : วันที่ 26 Emptiness Management (5)
- ตอนที่ 101 : วันที่ 27 การบริหารงานแบบปล่อยวาง (1)
- ตอนที่ 102 : วันที่ 27 การบริหารงานแบบปล่อยวาง (2)
- ตอนที่ 103 : วันที่ 27 การบริหารงานแบบปล่อยวาง (3)
- ตอนที่ 104 : วันที่ 27 การบริหารแบบปล่อยวาง(4)
- ตอนที่ 105 : วันที่ 27 การบริหารแบบปล่อยวาง(5)
- ตอนที่ 106 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(1)
- ตอนที่ 107 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(2)
- ตอนที่ 108 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(3)
- ตอนที่ 109 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(4)
- ตอนที่ 110 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(5)
- ตอนที่ 111 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(6)
- ตอนที่ 112 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(7)
- ตอนที่ 113 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(8)
- ตอนที่ 114 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (1)
- ตอนที่ 115 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (2)
- ตอนที่ 116 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (3)
- ตอนที่ 117 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (4)
- ตอนที่ 118 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (5)
- ตอนที่ 119 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (6)
- ตอนที่ 120 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (1)
- ตอนที่ 121 : ตอนที่ 118 วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (2)
- ตอนที่ 122 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (3)
- ตอนที่ 123 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (4)
- ตอนที่ 124 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (5)
- ตอนที่ 125 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (6)
- ตอนที่ 126 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (7)
- ตอนที่ 127 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (8)
- ตอนที่ 128 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (จบ)