ตอนที่ 75
วันที่ 21
ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(10)
(Case Study -18)
ตารางการวิเคราะห์ SWOT ของ ฝ่ายการตลาด ( ฝ่ายขายและบริการ ) จากข้อมูลตารางที่ 3 เป็นข้อมูลของ S-W-O-T ที่ได้จากการเก็บข้อมูลจริงเพื่อนำมาเขียน ตารางการวิเคราะห์ SWOT ตามที่แสดงในตารางที่ 4
Table 4 S-O , W-O
Internal Analysis |
Strength (S) |
Weakness(W) |
1. ระบบบริหารงานได้ มาตรฐานISO 9001-2000 2. การตลาดดี มีบุคลากรที่มีคุณภาพรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้อง 3. มีการฝึกอบรม บุคลากรมีความรู้ดี ให้บริการลูกค้าตรงตาม Core value 4. ผู้บริหารมีความสามารถเฉพาะตัวบุคคล และสื่อสารกับภายใน / นอกองค์การ 5. มีความพร้อมด้านแผนงาน / บุคลากร ทำให้ต้นทุนบริหารต่ำลง ใช้บุคลการน้อย ไม่สูญเสียโอกาสที่จะให้บริการลูกค้าได้ 6. การหมุนเวียนของสินค้าดี ตรงตาม ความต้องการของลูกค้า |
1. การเลือก / คัดสรรสินค้าให้ได้คุณภาพเหมาะสมกับราคา 2. การตามผลเชิงกลยุทธ์มีขั้นตอนมากและต้องวิเคราะห์ 3. การควบคุมค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน มีผลกับต้นทุนที่มีความจำกัดอยู่ 4. ควบคุมค่าใช้จ่ายการstock สินค้า ควบคุมคุณภาพของสินค้า 5. การควบคุมการสูญหาย เสียหาย บุบสลาย เสียคุณภาพของสินค้า ต้องมีระบบควบคุมที่ง่ายและชัดเจน มีการยอมรับกันทั้งสองฝ่ายทั้งลูกค้าและผู้ให้บริการ | |
External Analysis | ||
Opportunity (O) |
S O
.objectives |
W - O
.objectives |
1. ความคล่องดีไม่เป็นที่ปรารถนาของคู่แข่งรายใหญ่และรายเล็ก
เพื่อหลีกเลี่ยงความยุ่งยากและความเสี่ยง 2. ภาครัฐหรือกลุ่มองค์การค้าปลีก ให้การสนับสนุน ช่วยให้สินค้ากระจาย / หมุนเวียน / ช่วยให้มีการบริการ / ช่วยภาษีการค้า 3. ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันการเงินโครงการ credit SME 4. องค์การท้องถิ่นและชุมชนให้การสนับสนุน มีการทำโครงการร่วม กับชุมชน ด้าน CSR 5. ให้ท้องถิ่นมีอาชีพและผลิตสินค้ามาวางขายได้ |
ช่วงที่ 1 ใช้แผนกลยุทธ์ของฝ่ายการตลาด S1 - O1 , S6 O4 , S5 O5 ช่วงที่ 2 ฝ่ายบริหารสนับสนุนฝ่ายการตลาด (ฝ่ายขายและบริการ) S4 O2 , S4 O3 |
วิเคราะห์แผนกลยุทธ์ของฝ่ายการตลาดจากจุดอ่อนและโอกาส W1 O1 , W3 O2 , W4 O3 , W5 O4 ( ผู้บริหารสามารถหักล้างจุดอ่อนด้วยโอกาสขององค์การที่มีอยู่ควบคู่กับจุดแข็ง ) |
Table 5 S-T , W-T
Internal Analysis |
Strength (S) |
Weakness(W) |
1. ระบบบริหารงานได้ มาตรฐานISO 9001-2000 2. การตลาดดี มีบุคลากรที่มีคุณภาพรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้อง 3. มีการฝึกอบรม บุคลากรมีความรู้ดี ให้บริการลูกค้าตรงตาม Core value 4. ผู้บริหารมีความสามารถเฉพาะตัวบุคคล และสื่อสารกับภายใน / นอกองค์การ 5. มีความพร้อมด้านแผนงาน / บุคลากร ทำให้ต้นทุนบริหารต่ำลง ใช้บุคลการน้อย ไม่สูญเสียโอกาสที่จะให้บริการลูกค้าได้ 6. การหมุนเวียนของสินค้าดี ตรงตาม ความต้องการของลูกค้า |
1. การเลือก / คัดสรรสินค้าให้ได้คุณภาพเหมาะสมกับราคา 2. การตามผลเชิงกลยุทธ์มีขั้นตอนมากและต้องวิเคราะห์ 3. การควบคุมค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน มีผลกับต้นทุนที่มีความจำกัดอยู่ 4. ควบคุมค่าใช้จ่ายการจัด stock สินค้า ควบคุมคุณภาพของสินค้า 5. การควบคุมการสูญหาย เสียหาย บุบสลาย เสียคุณภาพของสินค้า ต้องมีระบบควบคุมที่ง่ายและชัดเจน มีการยอมรับกันทั้งสองฝ่ายทั้งลูกค้าและผู้ให้บริการ | |
External Analysis | ||
Threat (T) |
S T
.objectives |
W - T
.objectives |
1. เริ่มมีการปรับปรุงร้านโชห่วยทั่วไปเป็นการเพิ่มคู่แข่งและลดยอดขาย 2. เพิ่มคู่แข่งขันด้านการบริการ ด้านราคา ละด้านคุณภาพสินค้า 3. สินค้าในตลาดมีมากหลาก หลาย ยากต่อการเลือกสรร 4. เกิดการแบ่งระดับการให้บริการ ทั้งด้านราคา ด้านประเภทของสินค้า และ ระดับของผู้ใช้บริการเด่นชัดขึ้น ซึ่งเป็นการแบ่งประเภทของลูกค้า / ผู้ใช้บริการ 5. มีการลงทุนเพิ่ม เพื่อปรับปรุงกิจการ ทั้งด้านรูปลักษณ์ โครงสร้างของร้านค้าและการบริหารงาน |
ช่วงที่ 1 ใช้แผนกลยุทธ์ของฝ่ายการตลาดเพื่อขจัดอุปสรรค S2 - T1 , S6 - T3 ช่วงที่ 2 ฝ่ายบริหารสนับสนุนฝ่ายการตลาด (ฝ่ายขายและบริการ) S3 T2 , S4 T5 , S5 T4 |
วิเคราะห์แผนกลยุทธ์ของฝ่ายการตลาดจากจุดอ่อนและอุปสรรค W1 T3 , W2 T1 , W3 T4 , W4 T5 |
3.) การกำหนดแผนกลยุทธ์และตัวชี้วัดของ ฝ่ายการตลาด ( ฝ่ายขายและบริการ )
แผนกลยุทธ์ของ ฝ่ายการตลาด ( ฝ่ายขายและบริการ ) จะต้องสอดคล้องเป็นไปในแนวเดียวกับแผนกลยุทธ์หลักขององค์การเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตาม Main Policy of Business สรุปได้เป็น 2 ส่วนคือ แผนหน้าที่ของฝ่ายการตลาด และแผนหน้าที่ของฝ่ายบริหาร
แผนหน้าที่ของฝ่ายการตลาด |
แผนหน้าที่ของฝ่ายบริหาร |
1. แผนสร้างรายได้ของร้าน MT shop - เพิ่มรายได้จากลูกค้า -ลดค่าใช้จ่ายของร้านMT shop -จัด promotion ขายสินค้า / การให้บริการ -เพิ่มสินค้า / การบริการ 2. แผนพัฒนาศักยภาพและสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน CSR -สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า -สร้างมาตรฐานการบริการ ทางด้านราคาและการให้บริการเสริมที่จำเป็น -จัดให้มีการส่งเสริมกิจกรรมร่วม |
1. หาแหล่งเงินทุนเพื่อขยายการให้การบริการ 2. รับการสนับสนุนจากสถาบันการเงิน SME 3. สร้างเครือข่ายผู้ผลิตสินค้าคุณภาพ 4. สร้างแผนการคัดเลือกสินค้าและตรวจรับอย่างมืออาชีพ 5. สร้าง BRAND MT SHOP 6. ฝึกอบรมพัฒนาความคิดสร้างศักยภาพของบุคลากร 7. ระดมสมองสร้างวิสัยทัศน์พัฒนาความคิดเชิงสร้างสรรค์ |
////////////////////////////////////////
15/5/255
บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที