วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(5)
ตอนที่ 82
วันที่ 22
ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(5)
กลไกทางจิต (Defense Mechanism)
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud)
..ได้บัญญัติทฤษฏีจิตวิเคราะห์โดยแบ่งการทำและ
หน้าที่ของจิตไว้
....ตามระดับความคิด
การรับรู้/การเรียนรู้
..และตามโครงสร้างของจิต
.กล่าวคือ ปกติจิตมนุษย์จะรับรู้และเกิดการเรียนรู้ภายในเวลา
..ต่างกันจะเกิดทันทีทันใด / หรือในช่วงเวลาหนึ่งเวลาใดก็ตาม
..ก็ต้องอยู่ภายใต้
..จิตสำนึก (conscious) ที่มนุษย์มีความรู้สึกนึกคิดของจิต ณ เวลาปัจจุบันทุกขณะ
..
..จิตก่อนสำนึก (preconscious) ต้องเกิดจากความตั้งใจที่จะนึก / คิด ว่าขณะจิตนั้นๆ ต้องการที่จะดึงเอาความทรงจำ / เหตุการณ์ ที่เคยเกิดขึ้นในอดีต กลับมาใช้เทียบเคียงกับเหตุการณ์ในขณะจิตปัจจุบัน เพื่อประโยชน์ข้อหนึ่งข้อใด ตามที่จิตสำนึก นั้นๆต้องการ
.
และเราสามารถจัดกระบวนความคิดแบบ Secondary Process โดยยึดหลักของสิ่งที่เกิดขึ้นจริงหรือ reality principle เป็นจิตที่ระดับ Ego คือส่วนที่มีอยู่ในจิตทุกระดับ
ช่วยดึงจิตที่ไม่มีเหตุผลให้กลับมามีเหตุผล และช่วยให้จิตที่พัฒนาสุดโต่ง กลับลงมาอยู่บนพื้นฐานของ การมีเหตุและผล
ผลลัพธ์ที่มนุษย์ได้รับ/แสดงออกมา อยู่ในหลายรูปแบบเช่น
.ความสมหวัง / ความพึงพอใจ
..ความผิดพลาด / ผิดหวัง
..และความต้องการที่อยู่บนเหตุผลต่างๆ เช่น ต้องการความสำเร็จในชีวิตจึงต้องเรียนหนังสือและขยันทำงานก็เพื่อได้มาซึ่ง ปัจจัย 4 หรือความต้องการพื้นฐานของมาสโลว์ (Maslow) ที่มนุษย์ต้องการและขาดไม่ได้ เป็นต้น
จิตไร้สำนึก (unconscious) ความตั้งใจที่จะดึงจิตก่อนสำนึก ขึ้นมาอยู่ในระดับ จิตสำนึก ให้ได้นั้น เมื่อเกิดความพยายามดึงส่วนนั้นๆขึ้นมา ไม่สำเร็จ / ไม่สมบูรณ์ หรืออาจจะอยู่ในภาวะที่ ปัจจุบันทางกายแต่ไม่ปัจจุบันทางจิต
เช่นร่างกายกำลังพักผ่อนอยู่ ในสภาวะมึนงง พะวัง หรือหลับพักผ่อนอยู่ ความรู้สึก / นึกคิด จะสามารถแสดงออกมาในรูปของความฝัน
.บางครั้งก็เป็นอาการของมนุษย์ที่อยู่ในสภาวะร่างกายไม่ปกติ
.การระลึกสิ่งที่เคยเกิดขึ้นมาอย่างยาวนานในอดีตนั้นโดยไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยหลักวิทยาศาสตร์ปัจจุบัน
..หรือบางอย่างก็สามารถเทียบเคียงได้จากสภาวะรอบข้าง
..บางครั้งเราก็ให้ความหมายว่าเป็นการระลึกชาติ
..? จะเป็นจริงหรือไม่
..ก็ต้องมีการพิสูจน์เป็นกรณีๆไป
..เราสามารถจัดกระบวนความคิดเป็นแบบ Primary Process ซึ่งอยู่ในระดับจิตไร้สำนึก
..ผลที่ต้องการก็คือ
..ความสมหวังเพื่อนำมาซึ่งปัจจัย 4
แต่การกระทำทั้งหมดเป็น pleasure principle กระทำอยู่บนพื้นฐานของการไม่มีเหตุผล
..มีแต่ความต้องการและความพึงพอใจ
..จะอยู่ในรูปของความนึกคิดและความฝัน
..อาจจะเข้าหลักของ Law of Attraction เป็นเสมือนพลังดึงดูดชนิดหนึ่ง ที่เกิดจากความคิดของมนุษย์
.ที่คิดซ้ำๆกันด้วยความมุ่งมั่นที่กระทำอันยาวนานและต่อเนื่อง
..เป็นพลังที่เข้มแข็งและกลายเป็นคลื่นก่อให้เกิด Vibration เพื่อส่งอิทธิพลถึงสภาพรอบข้าง
..จะเป็นวัตถุ / สิ่งของ
..เหตุการณ์หรือ ความนึกคิด
.ให้คล้อยตามและเป็นไปตามที่คิดไว้
..อาจจะเป็นไปตามปัจจัยปรุงแต่ง ที่เกิดจากความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม
.และสามารถนำพาเพื่อให้เชื่อได้ว่า
สิ่งต่างๆเหล่านั้นเป็นเพราะดวงชะตา
..กรรมเก่า
.หรือความบังเอิญ
..ความพอดีและโชคลาภ
..เป็นจิตที่อยู่ในระดับ Id (Identification) เป็นสิ่งที่บ่งบอกความเป็นตัวตนของมนุษย์ ซึ่งเมื่ออยู่ในภาวะจิตไร้สำนึกจะส่งผลก่อให้เกิดได้ทุกๆอารมณ์ที่ต้องการไม่ว่าจะเป็น ความโกรธเกียจ ความรักใคร่ ความก้าวร้าว/ฉุนเฉียวและอื่นๆ
ไม่ว่าระดับจิตอยู่ที่ใด
.ซูเปอร์อีโก (Super Ego) จะสามารถควบคุมได้ทุกอย่าง ด้วยการมีสติ เพื่อควบคุมอารมณ์ และความรู้สึก
รู้จักผิด ชอบ ชั่ว ดี
Superego เกิดมาจากห้วงลึกของจิตใจที่พัฒนาจนเป็นมโนธรรม(conscience) เพื่อตัดสินความถูก / ผิด ของความคิด
ส่วน ego ideal
เป็นการเอาแบบอย่างหรือเดินตามตัวอย่างที่ดี
..อาจจะได้มาจากการเห็น / ประสบ หรือที่นึกคิดอยู่ในอุดมคติและพร้อมที่จะเดินรอยตามอย่างต้นแบบ
กลไกทางจิต (Defense Mechanism) เป็นกลไกที่อยู่ในระดับจิตไร้สำนึกที่มนุษย์พยายามหาวิธีเพื่อป้องกันตัวเอง
..ให้พ้นจากความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ การกระทบกระเทือนกับสิ่งที่ไม่พึงปรารถนา เช่นความผิดหวัง ความสะเทือนใจอย่างรุนแรง
..การปลดปล่อยให้จิตมาอยู่ในระดับผ่อนคลายโดยมีร่างกายเป็นผู้เกื้อหนุนให้มีการจัดสภาพแวดล้อม
.ก็จะช่วยไม่ให้เกิดอาการเก็บกดหรือ
. Repression
..ได้และการไม่หาทางระบายโดยปล่อยให้
.เกิดการซ่อนเร้นอำพราง หรือถูกกดอยู่
..ภายใต้จิตใต้สำนึกนั้นๆ
..ย่อมทำให้ความสามารถที่จะใช้เหตุและผลของ Ego เกิดขึ้นได้ยาก
.โดยเฉพาะการใช้พลังจิตเพื่อสร้าง Ego และผลักดันมา สู่สภาวะ
จิตสำนึก
.และการยับยั้งสิ่งที่ถูกกดภายในจิตใต้สำนึกไว้
.แต่ถ้าจิตยังถูกกดดันอยู่ภายในสภาพเดิมซ้ำซากนานๆอย่างต่อเนื่อง
ก็ย่อมแสดงได้ว่าผู้นั้น
..อยู่ภายใต้แรงกดดันทางจิตอย่างสูง
.และมีโอกาสที่จะแสดงออกมาในรูปของคนขาดสติ
.ซึ่งอาจจะตกอยู่ในสภาพของผู้ป่วยทางจิตได้ง่าย
..ภายใต้แรงกดดันของจิตไร้สำนึกทำให้มนุษย์ต้องหาทางออกเพื่อปกป้องตนเองและพร้อมที่จะแสดงออกมาในลักษณะที่
..ไม่ยอมรับผิดเมื่อตนทำผิด
แสดงความขัดแย้งเมื่อตนไม่เห็นด้วย
..หรือสร้างพฤติกรรมเรียบแบบ / กลมกลืน/ ไม่เต็มใจ
.แต่ต้องแกล้งทำเพื่อความอยู่รอดบนเหตุผลส่วนตัว
.ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของ
กลไกทางจิต
. Defense Mechanism
สรุปเบื้องต้นว่า
กลไกทางจิต
..ทั้งหมดที่มนุษย์ปกติชนหรือผู้ที่ได้ชื่อว่ามีความบกพร่องทางจิต
ได้แสดงออกมาเพื่อให้ ตนเองหลุดพ้นจากสิ่งที่ถูกกดดันทั้งภายในและภายนอก ที่เผชิญอยู่ และรู้ว่าเป็นสิ่งที่ตนไม่ต้องการ ซึ่งเป็นสิ่งที่คิดได้ว่า
.อาจจะทำให้ตนเดือดร้อนและเกิดความผิดปกติต่างๆได้ เพราะอย่างน้อยก็เชื่อว่าสิ่งที่ทำไปจะสามารถลด / แก้ไข / ปกป้องปัญหาต่างๆให้พ้นตัวในเวลานั้น
สรุปเรื่องสมองและจิต
การที่ต้องกล่าวเรื่องสมองและจิตควบคู่กันมาหลายตอนนั้น
..ผู้เขียนเห็นว่าระดับผู้นำ / ผู้บริหาร
โดยเฉพาะผู้ที่ทำงานคลุกคลี กับมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ จำเป็นที่จะต้องใช้และนำมาปฏิบัติกับ
.ผู้ที่ทำงานร่วมกัน
.ผู้ใต้บังคับบัญชา
.เพื่อนร่วมงาน
.เพื่อคัดเลือกคน ปกครองคน หรือการบริหารระบบภายในองค์การ / องค์กร
.ซึ่งเป็นส่วนของ HRโดยตรง
.
..สรุปแล้ว
สมองเปรียบเสมืนกองเสนาธิการที่คอยบัญชาการให้ร่างกายมนุษย์ทำหน้าที่ต่างๆตามแผนการที่ได้วางไว้
กล่าวคือถ้าเป็นแผนเร่งด่วนสมองก็สั่งการ ออกมาทันที
..แต่ถ้าเป็นแผนที่มีความซับซ้อนสมองต้องใช้เวลาประมวลผลจากข้อมูลที่ได้รับ
. แล้วสร้างกระบวนการทางความคิดเพื่อวางแผนหรือแก้ปัญหานั้นๆ
โดยอยู่ภายใต้สภาวะจิตสำนึก (conscious) ในขณะที่คิดนั้น
หรือถ้าบุคคลนั้นสามารถนึกถึง เหตุการณ์ในอดีต ที่เคยเกิดขึ้น แล้วนำมาเทียบเคียงโดยใช้ จิตก่อนสำนึก (preconscious) ตั้งใจที่จะคิดจนสามารถดึงประสบการณ์จากเหตุการณ์เหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ได้ก็จะช่วยให้กระบวนการที่กระทำอยู่ภายใต้สภาวะจิตสำนึก
สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
.และในการควบคุมจิตให้อยู่ในระดับควบคุมได้ทุกขณะ
.Super Ego ก็จะสามารถควบคุมการมีสติ ควบคุมอารมณ์ และความรู้สึก
และรับรู้ในผิด ชอบ ชั่ว ดี
จนกลายเป็นมโนธรรม(conscience) เพื่อสามารถใช้ตัดสินความถูกต้องของสังคมมนุษย์
ปัญหาท้ายตอนที่ 82
1. ในฐานะที่ท่านเป็นผู้บริหาร / ผู้นำ ขององค์การ ท่านจะแนะนำส่วนของการเลือกบุคคลเข้าทำงานของฝ่าย HR
.อย่างไร ?.....จะดูที่ลักษณะเฉพาะตัวหรือบุคลิกภาพส่วนไหนบ้าง
..และที่สำคัญจะใช้พลังจิตอะไรเพื่อคัดเลือกบุคลากรเหล่านั้นเข้าทำงาน
2. ในการบริหารบุคคลในมุมมองของ ฟรอยด์ ท่านคิดว่ามีข้อดีข้อเสียอย่างไรบ้าง สอดคล้องกับการพัฒนาจิตและบุคลิกภาพหรือไม่
?
////////////////////////////////////////
28/7/2553
บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที
- ตอนที่ 1 : กล่าวนำ
- ตอนที่ 2 : "ทำความเข้าใจตนเองว่าอยู่ในฐานะใด....?และพร้อมที่จะทำ....?"
- ตอนที่ 3 : "ทดสอบความเป็นผู้นำ"
- ตอนที่ 4 : "ทดสอบธรรมาภิบาล"
- ตอนที่ 5 : "ท่านเป็นผู้บริหารแบบไหน"
- ตอนที่ 6 : " การฝึกความคิดอย่างมี.....สติ....ของผู้นำ"
- ตอนที่ 7 : "10 ผู้นำ/CEO
คติที่น่านำไปใช้"
- ตอนที่ 8 : "10 ผู้นำ/CEO
(..2..)คติที่น่านำไปใช้ "
- ตอนที่ 9 : "10 ผู้นำ/CEO
(..จบ..)คติที่น่านำไปใช้ "
- ตอนที่ 10 : "บทสรุปและเตรียมตัวเพื่อ
Change in 30 day"
- ตอนที่ 11 : "วันที่ 1 ศาสตร์ของการบริหารงาน (-1-)"
- ตอนที่ 12 : "วันที่ 1 ศาสตร์ของการบริหารงาน (-2-)"
- ตอนที่ 13 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (-1-)"
- ตอนที่ 14 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (บทแทรกของตอนที่13)"
- ตอนที่ 15 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (-2-)"
- ตอนที่ 16 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (บทแทรกของตอนที่15-1-)"
- ตอนที่ 17 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (บทแทรกของตอนที่15-2-)"
- ตอนที่ 18 : วันที่ 3 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-1-)"
- ตอนที่ 19 : วันที่ 4 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-2-)"
- ตอนที่ 20 : วันที่ 5 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-3-)"
- ตอนที่ 21 : วันที่ 6 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-4-)"
- ตอนที่ 22 : วันที่ 7 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-5-)"
- ตอนที่ 23 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " PDCA Cycle / Deming Cycle (-1-)"
- ตอนที่ 24 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " PDCA Cycle / Deming Cycle (-2-)"
- ตอนที่ 25 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " " PDCA Cycle / Deming Cycle" (-3-)"
- ตอนที่ 26 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " " PDCA Cycle / Deming Cycle" (-4-)"
- ตอนที่ 27 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " " PDCA Cycle / Deming Cycle" (-5-)"
- ตอนที่ 28 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " " PDCA Cycle / Deming Cycle" (-6-)"
- ตอนที่ 29 :
- ตอนที่ 30 : วันที่ 9 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)" สรุป Deming Cycle"
- ตอนที่ 31 : วันที่ 10 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)"5S , Fish Bone Diagram , Pareto Chart , Check Sheet "
- ตอนที่ 32 : วันที่ 10 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)"5S , Fish Bone Diagram , Pareto Chart , Check Sheet "
- ตอนที่ 33 : วันที่ 10 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)"5S , Fish Bone Diagram , Pareto Chart , Check Sheet "
- ตอนที่ 34 : วันที่ 11 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)"QC Story"
- ตอนที่ 35 : วันที่ 11 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)"QC Story"
- ตอนที่ 36 : วันที่ 11 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)Stiglitz vs E. Porter "QC Story"
- ตอนที่ 37 : วันที่ 11 ศาสตร์ของการบริหารงาน (4)Stiglitz vs E. Porter "QC Story"
- ตอนที่ 38 : วันที่ 12 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)(5S -5G- 3M-1J )"QC Story"
- ตอนที่ 39 : วันที่ 12 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)(Paul R. Krugman )"QC Story"
- ตอนที่ 40 : วันที่ 12 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)( QC Step of Change)"QC Story"
- ตอนที่ 41 : วันที่ 12 ศาสตร์ของการบริหารงาน (4)(Problem Solving )"QC Story"
- ตอนที่ 42 : วันที่ 13 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)Strategic Management
- ตอนที่ 43 : วันที่ 13 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)( strategic vocab) Strategic Management
- ตอนที่ 44 : วันที่ 13 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)( Management and Strategic Management ) Strategic Management
- ตอนที่ 45 : วันที่ 14 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)( Theory of Management ) Strategic Management
- ตอนที่ 46 : วันที่ 14 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)( Diagram of Maslows and McGregors Theory ) Strategic Management
- ตอนที่ 47 : วันที่ 14 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)(Theory of Management ) Strategic Management
- ตอนที่ 48 : วันที่ 14 ศาสตร์ของการบริหารงาน (4)(Theory of Management ) Strategic Management
- ตอนที่ 49 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)(Strategy Formulation) Strategic Management
- ตอนที่ 50 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)(Strategy Implementation-1) Strategic Management
- ตอนที่ 51 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)(Strategy Implementation-2) Strategic Management
- ตอนที่ 52 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (4)(Evaluation and Control -1) Strategic Management
- ตอนที่ 53 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (5)(Evaluation and Control -2) Strategic Management
- ตอนที่ 54 : วันที่ 16 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management) (BSC & KPI -1)
- ตอนที่ 55 : วันที่ 16 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management) (BSC & KPI -2)
- ตอนที่ 56 : วันที่ 16 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management) (BSC & KPI -3)
- ตอนที่ 57 : วันที่ 16 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management) (BSC & KPI -4)
- ตอนที่ 58 : วันที่ 17 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(1), (Case Study -1)
- ตอนที่ 59 : วันที่ 17 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(2), (Case Study -2)
- ตอนที่ 60 : วันที่ 17 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(3), (Case Study -3)
- ตอนที่ 61 : วันที่ 17 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(4), (Case Study -4)
- ตอนที่ 62 : วันที่ 18 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(1), (Case Study -5)
- ตอนที่ 63 : วันที่ 18 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(2), (Case Study -6)
- ตอนที่ 64 : วันที่ 18 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(3), (Case Study -7)
- ตอนที่ 65 : วันที่ 18 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(4), (Case Study -8)
- ตอนที่ 66 : วันที่ 19 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(1), (Case Study -9)
- ตอนที่ 67 : วันที่ 19 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(2), (Case Study -10)
- ตอนที่ 68 : วันที่ 19 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(3), (Case Study -11)
- ตอนที่ 69 : วันที่ 20 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(4), (Case Study -12)
- ตอนที่ 70 : วันที่ 20 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(5)(Case Study -13)
- ตอนที่ 71 : วันที่ 20 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(6), (Case Study -14)
- ตอนที่ 72 : วันที่ 20 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(7), (Case Study -15)
- ตอนที่ 73 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(8), (Case Study -16)
- ตอนที่ 74 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(9), (Case Study -17)
- ตอนที่ 75 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(10), (Case Study -18)
- ตอนที่ 76 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(11), (Case Study -19)
- ตอนที่ 77 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(จบ)
- ตอนที่ 78 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(1)
- ตอนที่ 79 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(2)
- ตอนที่ 80 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(3)
- ตอนที่ 81 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(4)
- ตอนที่ 82 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(5)
- ตอนที่ 83 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(6)
- ตอนที่ 84 : วันที่ 23 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(1)
- ตอนที่ 85 : วันที่ 23 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(2)
- ตอนที่ 86 : วันที่ 23 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(3)
- ตอนที่ 87 : วันที่ 23 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(4)
- ตอนที่ 88 : วันที่ 24 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(1)
- ตอนที่ 89 : วันที่ 24 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(2)
- ตอนที่ 90 : วันที่ 24 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(3)
- ตอนที่ 91 : วันที่ 24 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(4)
- ตอนที่ 92 : วันที่ 25 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(1)
- ตอนที่ 93 : วันที่ 25 Buddhism and Scientific Management (2)
- ตอนที่ 94 : วันที่ 25 Buddhism and Scientific Management (3)
- ตอนที่ 95 : วันที่ 25 Buddhism and Scientific Management (4)
- ตอนที่ 96 : วันที่ 26 Emptiness Management (1)
- ตอนที่ 97 : วันที่ 26 Emptiness Management (2)
- ตอนที่ 98 : วันที่ 26 Emptiness Management (3)
- ตอนที่ 99 : วันที่ 26 Emptiness Management (4)
- ตอนที่ 100 : วันที่ 26 Emptiness Management (5)
- ตอนที่ 101 : วันที่ 27 การบริหารงานแบบปล่อยวาง (1)
- ตอนที่ 102 : วันที่ 27 การบริหารงานแบบปล่อยวาง (2)
- ตอนที่ 103 : วันที่ 27 การบริหารงานแบบปล่อยวาง (3)
- ตอนที่ 104 : วันที่ 27 การบริหารแบบปล่อยวาง(4)
- ตอนที่ 105 : วันที่ 27 การบริหารแบบปล่อยวาง(5)
- ตอนที่ 106 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(1)
- ตอนที่ 107 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(2)
- ตอนที่ 108 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(3)
- ตอนที่ 109 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(4)
- ตอนที่ 110 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(5)
- ตอนที่ 111 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(6)
- ตอนที่ 112 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(7)
- ตอนที่ 113 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(8)
- ตอนที่ 114 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (1)
- ตอนที่ 115 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (2)
- ตอนที่ 116 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (3)
- ตอนที่ 117 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (4)
- ตอนที่ 118 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (5)
- ตอนที่ 119 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (6)
- ตอนที่ 120 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (1)
- ตอนที่ 121 : ตอนที่ 118 วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (2)
- ตอนที่ 122 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (3)
- ตอนที่ 123 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (4)
- ตอนที่ 124 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (5)
- ตอนที่ 125 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (6)
- ตอนที่ 126 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (7)
- ตอนที่ 127 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (8)
- ตอนที่ 128 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (จบ)