วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(6)
ตอนที่ 83
วันที่ 22
ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(6)
ตอบปัญหาท้ายตอนที่ 82
ในฐานะที่ท่านเป็นผู้บริหาร
ท่านควรมีหลักเบื้องต้นในการคัดเลือก บุคคลเข้าทำงานเป็นสมาชิกใหม่ขององค์การ/ องค์กร
หรือเพื่ออ่านใจลูกค้า
.ให้รู้ใจคู่เจรจาต่อรอง ในเชิงการค้า
..หรืออาจจะใช้ในกรณีที่เกี่ยวข้องกับ
การบริหารบุคคล
...การตลาด
และการบริหารและการปกครองด้านต่างๆ
.บุคลิกภาพ (personality)
.เป็นจุดแรกที่เราสามารถใช้ในการมองลักษณะเฉพาะตัวของบุคคลจากภายนอกและบางส่วนจากภายใน
เพื่อวิเคราะห์บุคคลเบื้องต้น
..ก่อนที่เราจะตัดสินใจในการทำปฏิสัมพันธ์กับบุคคลนั้นๆ
..ลักษณะภายนอกของบุคคลที่แสดงออกได้แก่ กิริยา วาจาท่าทาง หน้าตาและสรีระเฉพาะบุคคล ส่วนลักษณะภายในพอจะมองได้จาก
.การแสดงออกด้านอารมณ์ ความเชี่ยวชาญ การมีเชาว์ปัญญา
..ทั้งลักษณะภายนอกและลักษณะภายในของบุคคล มีความเกี่ยวพันธ์กันอย่างลึกซึ้งแทบจะแยกกันไม่ออก
.โดยเฉพาะบุคลิกภาพที่ถูกกดไว้โดยความตั้งใจของบุคคลนั้นๆ
..เพื่อให้สิ่งที่แสดงออกมาเป็นที่พอใจแก่บุคคลที่พบเห็น หรือเทียบเคียงกับคำว่า
..รู้หน้าไม่รู้ใจ
.. know the face can't tell the heart
ซิกมันด์ ฟรอยด์ พยายามใช้ทฤษฏีทางจิต มาอธิบาย ปรากฏการณ์ที่แสดงออกทางบุคลิกภาพของบุคคล
เพื่อเป็นลักษณะเฉพาะตัวของบุคคลทั่วโลก
..หรือลักษณะเฉพาะของมนุษยชาติ (humanity) และสามารถใช้ทำนายพฤติกรรมของบุคคลได้อย่างถูกต้อง
. จากพฤติกรรมของจิตที่ฟรอยด์
.สรุปมาเป็นทฤษฎีทางจิตที่สามารถนำมาปฏิบัติได้
.หรือที่เรียกว่าทฤษฎีทางจิตของฟรอยด์
.อธิบายในรูปของพลังจิตของมนุษย์ 3 ส่วนหรือ
Id , Ego และ Superego
.สามารถสรุปเป็นแนวทางบุคลิกภาพของบุคคลได้ดังนี้
1. โครงสร้างของจิตใต้สำนึก
กล่าวว่า พลังจิตใต้สำนึกมีอิทธิพลเหนือจิตสำนึก
.จิตใต้สำนึกเป็นกลไกของจิตก่อให้เกิด อารมณ์ตามสภาวะแวดล้อม พร้อมกับแรงส่งจากจิต
..ที่อาจจะถูกเก็บกด และพร้อมที่จะแสดงออกมาทันที
..การแสดงออกถ้าผิดปกติ จากพฤติกรรมของสามัญชนก็เรียกได้ว่า
..ผู้นั้นมีความผิดปกติทางจิต
และมีความจำเป็นที่จะทำให้คนผิดปกติเหล่านั้น
..เปิดเผยถึงจิตใต้สำนึกนั้นออกมาให้อยู่ในสภาพจิตสำนึก เพื่อให้เราสามารถเข้าใจและหาวิธีรักษาได้
.
การนำไปใช้ : เมื่อเราพิจารณาด้านบุคลิกภาพของบุคคลในข้อนี้เราสามารถรู้ในเบื้องต้นว่า
..บุคคลที่เรากำลังเจรจาด้วยนั้นมีการแสดงอาการใดๆออกมาบ้าง เช่น
.แสดงความโมโห โกรธ เกียจ อาฆาตมาดร้าย หรืออารมณ์อื่นๆอีก
เป็นต้น เราต้องระวังบุคคลที่สามารถควบคุมอาการเก็บกดที่อยู่ในจิตใต้สำนึก
.ไว้ได้
ในขณะเดียวกันเราต้องระวัง การประทุของระเบิดเวลาซึ่งพร้อมที่จะระเบิดได้ทุกเมื่อ
.
2. พลังลบเป็นพลังที่ขาดเหตุผลหรือ Id : เป็นพลัง ที่มีแรงขับเคลื่อนสูง ที่เริ่มจากวัยเด็ก
.และติดตามตัวของมนุษย์มาโดยตลอด
..เป็นพฤติกรรมของจิต ในส่วนสัญชาตญาณของมนุษย์
..เราต้องช่วยกันป้องกันมิให้เกิดการขัดขวาง และการแสดงออกของพลังนี้มากจนเกินไป
การนำไปใช้ : ผู้บริหาร / ผู้นำ
จะต้องพิจารณาและเข้าใจบุคคลที่อยู่ในกลุ่มประเภทนี้ว่า
..เป็นบุคคลที่มักเอาแต่ใจตนเอง ไม่มีเหตุผล แต่เราสามารถดึงเอาสติปัญญา ความรอบรู้ และความชำนาญงาน ของเขาเหล่านั้นออกมาสร้างเป็นจุดแข็งขององค์การได้
การควบคุมก็ต้องสร้างความเข้าใจและมีความอดทนในการทำงานรวมกันโดยถือว่าเป็นผู้มีความปกติทางจิตและต้องการกำลังใจ
.การพิจารณาบุคคลประเภทนี้จะต้อง
..คำนึงถึงพลังบวก อีก 2 ด้าน ว่ามีอยู่ในระดับใดบ้าง
จึงจะสามารถจัดงานที่เหมาะสม ตรงกับพลังและความสามารถของเขา
. งานที่เหมาะสมต้องเป็นประเภทที่อาศัยความชำนาญเป็นหลัก
3. พลังบวกอยู่บนพื้นฐานของความรู้ และความเข้าใจ
Ego : การมีเหตุผล
..เพื่อจะใช้ประกอบกับการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อตอบสนองความต้องการของพลัง Id เป็นพลังที่อยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริงการรับฟังและพร้อมที่จะปฏิบัติตามอย่างมีเหตุและผล เป็นการพัฒนามาจากพลังที่ไม่มีเหตุผล จนสามารถเข้าสู้กระบวนการพัฒนาทางสมองและจิต อย่างมีระบบและสามารถนำมาช่วยในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขร่วมกันได้
การนำไปใช้ : ผู้บริหาร / ผู้นำ
จะใช้ความสามารถส่วนตัวในการพัฒนาบุคคลใน องค์การ / องค์กร
. หรือบุคคลที่ตนเอง ติดต่อประสานงานขณะนั้น
. ให้กลับมาเป็นผู้อยู่ใน
..กระบวนการพัฒนาจากความไม่มีเหตุผล มาอยู่ในภาวะที่ใช้เหตุผล
.เพื่อการทำงานและการดำเนินชีวิตประจำวัน
ตามภารกิจและหน้าที่ของแต่ละคน
.และในทางที่ดีที่สุด ก็คือการพัฒนา และการประสานงานร่วมกับ ผู้ที่มี Ego อยู่แล้วเพียงแต่
.เราใส่ระบบการเลียงลำดับความคิด เพื่อดึงความสามารถเฉพาะตัวออกมาให้ได้
และสามารถใช้บุคคลที่เป็นแนวร่วมดังกล่าว เพื่อพัฒนาบุคคลกลุ่ม พลัง Id
..เรามอบหมายให้ผู้มี Ego ทำงานในตำแหน่งที่ต้องการความรับผิดชอบสูง และสามารถปล่อยมือเพื่อแบ่งเบางานของเรา โดยใช้ระบบการบริหารเพื่อควบคุม
..และยังมีความจำเป็นที่จะใช้บุคคลเหล่านี้ให้อยู่ในกลุ่มของนักปฏิบัติการ
4. พลังบวกที่เป็น Super Ego : ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ และมีการระดมความคิด อย่างสร้างสรรค์ จากเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยสามารถพัฒนาเป็นค่านิยมกลุ่มได้ การนำไปใช้ : ผู้บริหาร / ผู้นำ สามารถใช้ บุคคลที่มีพลัง Super Ego มาฝึกและโน้มน้าว กลุ่มพลัง Id ให้อยู่ในกรอบของระบบ องค์การ / องค์กรและต้องพึงระลึกอยู่เสมอว่าองค์การ มีการทำงานเป็นระบบทุกส่วนขององค์การมีส่วนเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน.....ผู้บริหารต้องดูแลกลุ่ม Super Egos ไม่ให้หลงตัวในการแสดงความคิดเห็นและความสามารถ มากจนเกิด over action ซึ่งอาจจะสร้าง ความขัดแย้งลึกๆในสังคมองค์การได้แต่ต้องระวังการปิดกันทางความคิด ระบบ brainstormใช้ในการแสดงความคิดเห็นในระดับนี้ได้
.. เราสามารถมอบหน้าที่ให้บุคคลในกลุ่มนี้ ทำงานด้านวิเคราะห์แผนงาน ส่วนของการพัฒนาองค์การ/ องค์กร
..มีการใช้ Creative Thinking ในการสร้างแผนงานและผลงานใหม่ๆ
ส่วนของ R&D ก็เหมาะสมกับกลุ่ม Super Ego นี้ด้วย
5. ผู้นำ / ผู้บริหาร
.ต้อง พิจารณาบุคคลเพื่อทำงานให้เหมาะสมกับ
.พลัง Id , Ego และ Super Ego : การใช้บุคลากร เพื่อฉายแววพลังเด่นด้านใดด้านหนึ่งออกมา
.เป็นหน้าที่หลักของ ผู้บริหาร/ ผู้นำ
..และพึงระลึกอยู่ตลอดเวลาว่า
..พลังด้านบวกทั้งสอง สามารถสร้างแนวร่วมด้านบวกให้กับองค์การ / องค์กร
.และเสริมให้พลังลบกลับมาอยู่ในสายของพลังบวกได้
โดยไม่ยากและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข ด้วยความคิดสร้างสรรค์
6. ตามทฤษฎีโครงสร้างพลังจิต ของฟรอยด์ : ทำให้พลังทั้งสาม โน้มน้าวมาในแนว
..สร้างความพึงพอใจ
..ให้กลุ่มทำงานและสังคมองค์การ / องค์กร
.มากเกินไป โดยใช้ประสบการณ์ของบุคลากรเป็นหลัก
เพื่อเป็นตัวชี้วัด
..จะเกิดการชิงดีชิงเด่นกัน ซึ่งเป็นจุดเปราะบางและสารมารถสร้างความ แตกแยกใน องค์การ / องค์กร ได้
.และผู้บริหาร / ผู้นำ ต้องมีความละเอียดอ่อน ต่อการบริหารด้านจิตของบุคลากรในองค์การ / องค์กร ด้วย
!
7. ศาสตร์ของโหงวเฮ้ง : เป็นศาสตร์ที่ผู้บริหารองค์การไม่ควรมองข้าม
..ซึ่งเป็นวิชาหนึ่งที่ว่าด้วย การพิจารณาคน
.จากลักษณะทั้งห้าบนใบหน้า ของคนนั้นๆ
.ประกอบด้วย หู ตา จมูก ปาก และคิ้ว ร่วมกับ รูปร่าง กิริยาท่าทางและวาจา
การพิจารณาคนจากโหงวเฮ้งนี้
.ใช้ในการคัดเลือกผู้ทำงานระดับ ผู้บริหารของ องค์การ / องค์กร
..และอีกในหลายๆระดับ และยังเป็นอาวุธสำคัญชิ้นหนึ่งของ HR ที่นำมาใช้ในการบริหารบุคคลขององค์การอีกด้วย
การนำไปใช้ : ผู้บริหาร / ผู้นำ
สามารถใช้ทฤษฏีทางพลังจิตจิตของฟรอยด์ ทั้ง 3 พลัง ร่วมกับการดู โหงวเฮ้งก็จะเข้าใจลักษณะของมนุษย์ในเบื้องต้นได้ดียิ่งขึ้น
////////////////////////////////////////
14/8/2553
บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที
- ตอนที่ 1 : กล่าวนำ
- ตอนที่ 2 : "ทำความเข้าใจตนเองว่าอยู่ในฐานะใด....?และพร้อมที่จะทำ....?"
- ตอนที่ 3 : "ทดสอบความเป็นผู้นำ"
- ตอนที่ 4 : "ทดสอบธรรมาภิบาล"
- ตอนที่ 5 : "ท่านเป็นผู้บริหารแบบไหน"
- ตอนที่ 6 : " การฝึกความคิดอย่างมี.....สติ....ของผู้นำ"
- ตอนที่ 7 : "10 ผู้นำ/CEO
คติที่น่านำไปใช้"
- ตอนที่ 8 : "10 ผู้นำ/CEO
(..2..)คติที่น่านำไปใช้ "
- ตอนที่ 9 : "10 ผู้นำ/CEO
(..จบ..)คติที่น่านำไปใช้ "
- ตอนที่ 10 : "บทสรุปและเตรียมตัวเพื่อ
Change in 30 day"
- ตอนที่ 11 : "วันที่ 1 ศาสตร์ของการบริหารงาน (-1-)"
- ตอนที่ 12 : "วันที่ 1 ศาสตร์ของการบริหารงาน (-2-)"
- ตอนที่ 13 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (-1-)"
- ตอนที่ 14 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (บทแทรกของตอนที่13)"
- ตอนที่ 15 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (-2-)"
- ตอนที่ 16 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (บทแทรกของตอนที่15-1-)"
- ตอนที่ 17 : "วันที่ 2 ศาสตร์ของการบริหารงาน (บทแทรกของตอนที่15-2-)"
- ตอนที่ 18 : วันที่ 3 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-1-)"
- ตอนที่ 19 : วันที่ 4 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-2-)"
- ตอนที่ 20 : วันที่ 5 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-3-)"
- ตอนที่ 21 : วันที่ 6 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-4-)"
- ตอนที่ 22 : วันที่ 7 ศาสตร์ของการบริหารงาน "การประยุกต์ใช้ ISO (-5-)"
- ตอนที่ 23 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " PDCA Cycle / Deming Cycle (-1-)"
- ตอนที่ 24 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " PDCA Cycle / Deming Cycle (-2-)"
- ตอนที่ 25 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " " PDCA Cycle / Deming Cycle" (-3-)"
- ตอนที่ 26 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " " PDCA Cycle / Deming Cycle" (-4-)"
- ตอนที่ 27 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " " PDCA Cycle / Deming Cycle" (-5-)"
- ตอนที่ 28 : วันที่ 8 ศาสตร์ของการบริหารงาน " " PDCA Cycle / Deming Cycle" (-6-)"
- ตอนที่ 29 :
- ตอนที่ 30 : วันที่ 9 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)" สรุป Deming Cycle"
- ตอนที่ 31 : วันที่ 10 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)"5S , Fish Bone Diagram , Pareto Chart , Check Sheet "
- ตอนที่ 32 : วันที่ 10 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)"5S , Fish Bone Diagram , Pareto Chart , Check Sheet "
- ตอนที่ 33 : วันที่ 10 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)"5S , Fish Bone Diagram , Pareto Chart , Check Sheet "
- ตอนที่ 34 : วันที่ 11 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)"QC Story"
- ตอนที่ 35 : วันที่ 11 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)"QC Story"
- ตอนที่ 36 : วันที่ 11 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)Stiglitz vs E. Porter "QC Story"
- ตอนที่ 37 : วันที่ 11 ศาสตร์ของการบริหารงาน (4)Stiglitz vs E. Porter "QC Story"
- ตอนที่ 38 : วันที่ 12 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)(5S -5G- 3M-1J )"QC Story"
- ตอนที่ 39 : วันที่ 12 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)(Paul R. Krugman )"QC Story"
- ตอนที่ 40 : วันที่ 12 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)( QC Step of Change)"QC Story"
- ตอนที่ 41 : วันที่ 12 ศาสตร์ของการบริหารงาน (4)(Problem Solving )"QC Story"
- ตอนที่ 42 : วันที่ 13 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)Strategic Management
- ตอนที่ 43 : วันที่ 13 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)( strategic vocab) Strategic Management
- ตอนที่ 44 : วันที่ 13 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)( Management and Strategic Management ) Strategic Management
- ตอนที่ 45 : วันที่ 14 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)( Theory of Management ) Strategic Management
- ตอนที่ 46 : วันที่ 14 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)( Diagram of Maslows and McGregors Theory ) Strategic Management
- ตอนที่ 47 : วันที่ 14 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)(Theory of Management ) Strategic Management
- ตอนที่ 48 : วันที่ 14 ศาสตร์ของการบริหารงาน (4)(Theory of Management ) Strategic Management
- ตอนที่ 49 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (1)(Strategy Formulation) Strategic Management
- ตอนที่ 50 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (2)(Strategy Implementation-1) Strategic Management
- ตอนที่ 51 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (3)(Strategy Implementation-2) Strategic Management
- ตอนที่ 52 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (4)(Evaluation and Control -1) Strategic Management
- ตอนที่ 53 : วันที่ 15 ศาสตร์ของการบริหารงาน (5)(Evaluation and Control -2) Strategic Management
- ตอนที่ 54 : วันที่ 16 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management) (BSC & KPI -1)
- ตอนที่ 55 : วันที่ 16 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management) (BSC & KPI -2)
- ตอนที่ 56 : วันที่ 16 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management) (BSC & KPI -3)
- ตอนที่ 57 : วันที่ 16 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management) (BSC & KPI -4)
- ตอนที่ 58 : วันที่ 17 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(1), (Case Study -1)
- ตอนที่ 59 : วันที่ 17 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(2), (Case Study -2)
- ตอนที่ 60 : วันที่ 17 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(3), (Case Study -3)
- ตอนที่ 61 : วันที่ 17 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(4), (Case Study -4)
- ตอนที่ 62 : วันที่ 18 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(1), (Case Study -5)
- ตอนที่ 63 : วันที่ 18 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(2), (Case Study -6)
- ตอนที่ 64 : วันที่ 18 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(3), (Case Study -7)
- ตอนที่ 65 : วันที่ 18 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Practical Management)(4), (Case Study -8)
- ตอนที่ 66 : วันที่ 19 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(1), (Case Study -9)
- ตอนที่ 67 : วันที่ 19 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(2), (Case Study -10)
- ตอนที่ 68 : วันที่ 19 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(3), (Case Study -11)
- ตอนที่ 69 : วันที่ 20 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(4), (Case Study -12)
- ตอนที่ 70 : วันที่ 20 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(5)(Case Study -13)
- ตอนที่ 71 : วันที่ 20 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(6), (Case Study -14)
- ตอนที่ 72 : วันที่ 20 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(7), (Case Study -15)
- ตอนที่ 73 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(8), (Case Study -16)
- ตอนที่ 74 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(9), (Case Study -17)
- ตอนที่ 75 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(10), (Case Study -18)
- ตอนที่ 76 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(11), (Case Study -19)
- ตอนที่ 77 : วันที่ 21 ภาคปฏิบัติของการบริหารงาน (Strategy Plan)(จบ)
- ตอนที่ 78 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(1)
- ตอนที่ 79 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(2)
- ตอนที่ 80 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(3)
- ตอนที่ 81 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(4)
- ตอนที่ 82 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(5)
- ตอนที่ 83 : วันที่ 22 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(6)
- ตอนที่ 84 : วันที่ 23 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(1)
- ตอนที่ 85 : วันที่ 23 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(2)
- ตอนที่ 86 : วันที่ 23 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(3)
- ตอนที่ 87 : วันที่ 23 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(4)
- ตอนที่ 88 : วันที่ 24 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(1)
- ตอนที่ 89 : วันที่ 24 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(2)
- ตอนที่ 90 : วันที่ 24 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(3)
- ตอนที่ 91 : วันที่ 24 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(4)
- ตอนที่ 92 : วันที่ 25 ภาคประยุกต์แผนเชิงกลยุทธ์ (Applied Strategy )(1)
- ตอนที่ 93 : วันที่ 25 Buddhism and Scientific Management (2)
- ตอนที่ 94 : วันที่ 25 Buddhism and Scientific Management (3)
- ตอนที่ 95 : วันที่ 25 Buddhism and Scientific Management (4)
- ตอนที่ 96 : วันที่ 26 Emptiness Management (1)
- ตอนที่ 97 : วันที่ 26 Emptiness Management (2)
- ตอนที่ 98 : วันที่ 26 Emptiness Management (3)
- ตอนที่ 99 : วันที่ 26 Emptiness Management (4)
- ตอนที่ 100 : วันที่ 26 Emptiness Management (5)
- ตอนที่ 101 : วันที่ 27 การบริหารงานแบบปล่อยวาง (1)
- ตอนที่ 102 : วันที่ 27 การบริหารงานแบบปล่อยวาง (2)
- ตอนที่ 103 : วันที่ 27 การบริหารงานแบบปล่อยวาง (3)
- ตอนที่ 104 : วันที่ 27 การบริหารแบบปล่อยวาง(4)
- ตอนที่ 105 : วันที่ 27 การบริหารแบบปล่อยวาง(5)
- ตอนที่ 106 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(1)
- ตอนที่ 107 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(2)
- ตอนที่ 108 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(3)
- ตอนที่ 109 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(4)
- ตอนที่ 110 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(5)
- ตอนที่ 111 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(6)
- ตอนที่ 112 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(7)
- ตอนที่ 113 : วันที่ 28 การบริหาร..ความสุขบนโลกของจักรวาล(8)
- ตอนที่ 114 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (1)
- ตอนที่ 115 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (2)
- ตอนที่ 116 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (3)
- ตอนที่ 117 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (4)
- ตอนที่ 118 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (5)
- ตอนที่ 119 : วันที่ 29 ความสุขท่ามกลางวัฒนธรรมองค์กร (6)
- ตอนที่ 120 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (1)
- ตอนที่ 121 : ตอนที่ 118 วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (2)
- ตอนที่ 122 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (3)
- ตอนที่ 123 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (4)
- ตอนที่ 124 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (5)
- ตอนที่ 125 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (6)
- ตอนที่ 126 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (7)
- ตอนที่ 127 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (8)
- ตอนที่ 128 : วันที่ 30 บทสรุปความเป็นเลิศของการบริหารองค์กร (จบ)